ประวัติ MATLAB
เริ่มต้น การใช้ MATLAB (Starting MATLAB)
แมตแล็บ (อังกฤษ: MATLAB:
Matrix Laboratory) เป็นซอฟต์แวร์ในการคำนวณและการเขียนโปรแกรม
โปรแกรมหนึ่ง ที่มีความสามารถครอบคลุมตั้งแต่ การพัฒนาอัลกอริธึม การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
และการทำซิมูเลชั่นของระบบ การสร้างระบบควบคุม และโดยเฉพาะเรื่อง image
processing และ wavelet การสร้างเมตริกซ์ ผลิตโดยบริษัทแมตเวิรกส์ตัวแทนจำหน่ายในประเทศไทยคือ บริษัท
เทคซอร์ส ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จำกัด
แมตแล็บเป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในแวดวงของนักวิทยาศาสตร์และ
วิศวกรในปัจจุบัน ชื่อโปรแกรม MATLAB นั้นย่อมาจาก Matrix Laboratory แมตแล็บได้เริ่มต้น
ขึ้นเพื่อต้องการให้เราสามารถแก้ปัญหาตัวแปรที่มีลักษณะเป็นเมทริดซ์ได้ง่ายขึ้น
แมตแล็บ เริ่มพัฒนาครั้งแรกโดย Dr. Cleve Molor ซึ่งเขียนโปรแกรมนี้ขึ้นมาด้วยภาษาฟอร์แทรน
โดยโปรแกรมนี้ได้ พัฒนาภายใต้โครงการ LINPACK และ EISPACK
Cleve Moler ผู้ค้นพบ Matlab
การทำงาน
แมตแล็บสามารถทำงานได้ทั้งในลักษณะของการติดต่อโดยตรง
คือการเขียนคำสั่งเข้าไปทีละคำสั่ง เพื่อให้แมตแล็บประมวลผลไปเรื่อยๆ หรือสามารถที่จะรวบรวม
ชุดคำสั่งเรานั้นเป็นโปรแกรมก็ได้
ข้อสำคัญอย่างหนึ่งของแมตแล็บก็คือข้อมูลทุกตัวจะถูกเก็บใน ลักษณะของแถวลำดับ
คือในแต่ละตัวแปรจะได้รับการแบ่งเป็นส่วนย่อยเล็กๆขึ้น
ซึ่งการใช้ตัวแปรเป็นแถวลำดับ ในแมตแล็บเราไม่จำเป็นที่จะต้องจองมิติเหมือนกับ
การเขียนโปรแกรมในภาษาขั้นต่ำทั่วไป
ซึ่งทำให้เราสามารถที่จะแก้ปัญหาของตัวแปรที่อยู่ในลักษณะ
ของเมทริกซ์และเวกเตอร์ได้โดยง่าย
ซึ่งทำให้เราลดเวลาการทำงานลงได้อย่างมากเมื่อเทียบกับการเขียน
โปรแกรมโดยภาษาซีหรือภาษาฟอร์แทรน
เริ่มต้น การใช้ MATLAB (Starting MATLAB)
- คำสั่ง clc
พิมพ์คำสั่ง clc ที่ command window แล้ว กด enter
ใช้ในการ ลบหน้าจอ ใน command window
ARITHMATIC
OPERATIONS WITH SCALAR
โอเปอเรชั่นที่ใช้ในการคำนวณมีดังต่อไปนี้
- บวก สัญลักษณ์
+ ตัวอย่าง 5+3
- ลบ สัญลักษณ์
- ตัวอย่าง 5-3
- คูณ สัญลักษณ์
* ตัวอย่าง 5*3
- หาร (ขวา) สัญลักษณ์ / ตัวอย่าง 5/3
- หาร (ซ้าย) สัญลักษณ์ \ ตัวอย่าง 5\3 = 3/5
- ยกกำลัง สัญลักษณ์ ^ ตัวอย่าง 5^3 (หมายถึง 53
= 125)
ลำดับในการคำนวณต่างไๆใน MATLAB จะเหมือนกับการคำนวณ
ในเครื่องคิดเลขทั่วไปคือ
อันดับที่ 1 วงเล็บ จะเริ่มคำนวณ
จะข้างในสุด
อันดับที่ 3 การคูณ และการหาร
อันดับที่ 4 การบวก และการลบ
การกำหนด vector จากตัวเลขที่รู้ค่าแน่นอน
วิธีง่ายทีสุด ในการใช้ MATLAB เพื่อการคำนวณต่างๆ
โดยการ คีย์ ตัวเลขที่ต้องการคำนวณ ลงใน command window หลังจากที่พิมพ์พจน์ของการคำนวณเสร็จ
กด enter ผลของการคำนวณจะปรากฎ หลังคำว่า X =
- Vector จะถูกสร้างขึ้นมาโดยการพิมพ์ ตัวเลขเข้าไปใน สี่เหลี่ยม (square brackets) [ ]วงเล็บ
- ถูกกำหนดเป็น row rector (แนวนอน) ในชื่อตัวแปร X = [ 1 2 3 4 5]
- ถูกกำหนดเป็น row Column (แนวตั้ง) ในชื่อตัวแปร Y = [1 ; 2 ; 3 ; 4 ; 5 ] โดยใช้ ;
การเลือกตำแหน่งตัวเลข
การกำหนด vector โดยการกำหนดระยะห่างของค่าที่คงที่
ซึ่งจะต้องกำหนดค่าเริ่มต้น และ และค่าสุดท้ายที่ต้องการ
รูปแบบในการสร้าง matrix
การทำกราฟ
การทำเครื่องคิดเลข
การใส่สี
การทำ panal เป็นชื่อเรา ใช้ชื่อ calculator
- การใส่ตัวเลข
ลงในปุ่ม 0 ทำไปเรื่อยๆ โดยเปลี่ยนจาก 0 เป็น 1-9
- การทำเครื่องหมาย%
- การทำเครื่องหมาย 1/x
- การทำเครื่องหมายเท่ากับ
- การใส่เครื่องหมายเคลียร์
สร้างเครื่องคิดเลขเสร็จ
การเรียกภาพ
เลือก folder แล้วกด Select Folder
- เป็นคำสั่งที่show ลายละเอียดของภาพ
คำสั่งเพื่อเปิดไฟล์ภาพ
เปิดภาพ
- คำสั่งเรียกดูค่าการรังสีเชิงคลื่น
figure,imhist (ชื่อรูที่เราตั้งไว้)
เรียกกราฟ
- ทำภาพสีเป็นภาพขาวดำ
ใส่คำสั่ง black_white = im2bw(picture) เพื่อทำเป็นภาพขาวดำ
ใส่คำสั่ง black_white = im2bw(picture) เพื่อทำเป็นภาพขาวดำ
จากนั้นพิมพ์คำสั่ง figure,imshow(black_white)
เพื่อเปิดรูปภาพ
ผลลัพธ์ที่ได้ เป็นช่องสีตามตัวเลขที่กรอกลงไป
การทำภาพสามมิติ
เปิดไฟล์ภาพ
Open with > paint
แยกภาพภาพออกจากกันโดย save เป็น 2 รูป รูปด้านซ้าย กับรูปด้านขวา
เปิดโปรแกรม MatLab ขึ้นมา แล้วกด Browse for folder
เลือก folder แล้วกด Select Folder
copy โค๊ดจาก อาจารย์กฤษณะ :))))))
ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ได้มา 13 ภาพ มีลักษณะการดูที่แตกต่างกัน
อุปกรณ์ในการดู คือ แว่นตา 3 มิติ
การผสมสีภาพถ่ายทางอากาศ
เลือก folderที่ต้องการ แล้วคลิก select folder
ใช้ imread เรียกไฟล์ภาพ
G = สีเขียว R = สีแดง
ผลลัพธ์
จัดทำโดย
copy โค๊ดจาก อาจารย์กฤษณะ :))))))
ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ได้มา 13 ภาพ มีลักษณะการดูที่แตกต่างกัน
อุปกรณ์ในการดู คือ แว่นตา 3 มิติ
การผสมสีภาพถ่ายทางอากาศ
เปิดFolder ที่มีรูปที่ต้องการโดยไปที่ Browse for folder
เลือก folderที่ต้องการ แล้วคลิก select folder
G = สีเขียว R = สีแดง
ผลลัพธ์
การทำภาพถ่ายดาวเทียว
ภาพถ่ายดาวเทียว 3 สี
การเปลี่ยนสีของภาพ
จัดทำโดย
นางสาวชุติรัตน์ ชมรัตน์
57170098 กลุ่ม 01
วิชา 876131 หลักการเขียนโปรแกรม
เสนอ อาจารย์กฤษณะ อิ่มสวาสดิ์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น